ไก่ชนออนไลน์
19 เมษายน 2567

รู้ไว้ก่อนจะเสียเงินซื้อยาแพง!!


แชร์
รู้ไว้ก่อนจะเสียเงินซื้อยาแพง!!
เรื่องระบบย่อยอาหารไก่
เรามาทำความเข้าใจกลไกการทำงานของระบบย่อยอาหารของไก่ ก่อนที่ไก่จะสามารถนำสารอาหารที่กลืนกินเข้าไปใช้ประโยชน์ได้นั้นต้องผ่านขบวนการย่อยอาหาร ในขั้นต้นการย่อยอาหารจะถูกย่อยในอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ๆ ได้แก่ โปรตีน ไขมันและคาร์โบไฮเดรตโดยขบวนการย่อยจะต้องมีน้ำร่วมด้วยซึ่งจะทำให้เกิดการการขยายตัวของสารต่างๆในขบวนการย่อยนั้นขบวนการที่สำคัญที่สุดคือ “การรวมกับน้ำ”
✅ไก่ต้องใช้ปากในการจิกกินแล้วกลืนลงไปสู่กระเพาะอาหารโดยไม่ผ่านการบดเคี้ยวเพราะไก่ไม่มีฟัน อวัยวะการย่อยอาหารของไก่แตกต่างไปจากสัตว์อื่น ๆ หลายประการ ไก่ไม่มีฟัน แต่มีจงอยปากแหลมใช้จิกอาหาร ไก่มีลิ้นปลายแหลมและแยกเป็นสองแฉกทางด้านหลังสำหรับใช้จิกอาหาร และส่งอาหารไปยังลำคอและหลอดอาหาร ซึ่งหลอดอาหารมีขนาดใหญ่ และตอนล่างของหลอดอาหารขยายใหญ่เป็นถุงใช้สำหรับเป็นที่พักอาหาร เรียกกระเพาะพัก (Crop)
✅อาหารเมื่อผ่านปากไก่เข้าไปแล้ว จะเดินทางเข้าไปที่หลอดอาหาร ลงไปที่กระเพาะพักอาหารรอการย่อยต่อไปในกระเพาะพักมีต่อมขับน้ำเมือกเพื่อให้อาหารเปียก และอ่อนนุ่ม ขณะที่อาหารอยู่ในกระเพาะพักจะเกิดการหมักจากการกระทำของจุลินทรีย์ กระเพาะพักจะส่งอาหารเข้าไปในกระเพาะหน้า (Proventriculus) ซึ่งทำหน้าที่เหมือนกระเพาะจริงของสัตว์อื่น ๆ คือมีการหลั่งน้ำย่อยกระเพาะ ถัดจากกระเพาะหน้าเป็นกระเพาะหลัง หรือกระเพาะบดหรือกึ๋น (Gizzard) ซึ่งประกอบด้วยกล้ามเนื้อแข็งและหนาเป็นแถบ ไม่มีต่อมขับน้ำย่อย มีกรวด (Grit) อยู่ภายในเพื่อทำหน้าที่บดแทนฟัน อาหารที่ยังหยาบอยู่ เช่น เมล็ดพืช จะถูกบดให้ละเอียดก่อนที่จะถูกส่งเข้าลำไส้เล็ก กรวดจะอยู่ในกึ๋นจนกระทั่งสึกจนเรียบและมีขนาดเล็กลงก็จะผ่านออกไปจากกึ๋นไปยังลำไส้เล็ก
✅หากสังเกตดีๆ เวลาไก่เดินหากินจะชอบกินพวกเศษดิน เศษกรวด หรือหินเข้าไป ตามลานบ้าน ก็ไม่ต้องสงสัย
เพราะไก่จำเป็นต้องกินหินเข้าไปเพื่อนำไปพักไว้ในกระเพาะพักอาหาร เพื่อช่วยในการบดอาหารหรือช่วยย่อยนั่นเอง
✅อาหารที่ยังหยาบอยู่ เช่น เมล็ดพืช จะถูกบดให้ละเอียดก่อนที่จะถูกส่งเข้าลำไส้เล็ก กรวดจะอยู่ในกึ๋นจนกระทั่งสึกจนเรียบและมีขนาดเล็กลงก็จะผ่านออกไปจากกึ๋นไปยังลำไส้เล็ก
✅ลำไส้เล็กเป็นส่วนสำคัญในการย่อยอาหารของไก่ อาหารจำพวกแป้งจะเริ่มถูกย่อยที่ปากเรื่อยไปจนถึงกระเพาะพัก และถูกย่อยโดยสมบูรณ์ที่ลำไส้เล็ก ผลผลิตขั้นสุดท้ายของการย่อยแป้งจะได้กลูโคสซึ่งถูกดูดซึมในส่วนลำไส้เล็ก ไขมัน ถูกย่อยในลำไส้เล็ก การย่อยไขมันจำเป็นต้องอาศัยน้ำดีซึ่งผลิตจากตับ
✅ดังนั้นการทำงานของระบบย่อยอาหารลำไส้เล็กมีส่วนสำคัญในการทำงานอย่างมากและตับที่ต้องผลิตน้ำดีในการช่วยย่อยอาหาร การดูแลไก่ของเราต้องใส่ใจเรื่องระบบบย่อยอาหารเป็นสำคัญ
                    </span> 
                    
                                        
                    <div class=

ประเภท โชว์ไก่/แมวมอง/สาระ

ราคา 0 บาท

ค่าจัดส่ง ไม่ระบุ


ข้อมูลติดต่อ

0830668218

0830668218


Tag :

บอร์ดยอดนิยม

แม่พันธ์สายเยียร์ทอง มีหักมีชักตามสาย เหมาะกับการนำไปพัฒนาต่อยอดลงเหล่า

฿ 3,500


โชคสันติฟาร์ม

มหาสารคาม [ปิดการขาย]

เข้าดู 9,042 ครั้ง

แบ่งเจ้าซัดดำคุต ไก่ไอคิว มุดมัด เบอร์แข้งรุ่นแรง มีแข้งหน้า

฿ 3,000


โชคสันติฟาร์ม

มหาสารคาม [ปิดการขาย]

เข้าดู 11,267 ครั้ง

แม่พันธ์สายนินจา มีหักมีชักตามสาย เหมาะกับการนำไปพัฒนาต่อยอดลงเหล่า

฿ 6,000


โชคสันติฟาร์ม

มหาสารคาม [ปิดการขาย]

เข้าดู 4,538 ครั้ง

แม่พันธ์มังกรไฟ มีหักมีชักตามสาย เหมาะกับการนำไปพัฒนาต่อยอดลงเหล่า

฿ 6,000


โชคสันติฟาร์ม

มหาสารคาม [ปิดการขาย]

เข้าดู 3,846 ครั้ง

แบ่งไก่ชนสาวเหล่าป่าก๋อย สายซัดดำ ตีหูเสียขา พร้อมผสม

฿ 6,000


โชคสันติฟาร์ม

มหาสารคาม [ปิดการขาย]

เข้าดู 4,370 ครั้ง

บอร์ดที่คุณอาจสนใจ

แบ่งเจ้าซัดดำคุต ไก่ไอคิว มุดมัด เบอร์แข้งรุ่นแรง มีแข้งหน้า

฿ 3,000


โชคสันติฟาร์ม

มหาสารคาม

เข้าดู 11,267 ครั้ง

แบ่งไก่ชนสาวเหล่าป่าก๋อย สายซัดดำ ตีหูเสียขา พร้อมผสม

฿ 6,000


โชคสันติฟาร์ม

มหาสารคาม

เข้าดู 4,370 ครั้ง

พัฒนาสายพันธ์ไก่ชน ทำไมต้องไก่พม่าแม่สะเรียง

ซุ้ม [กรุงเทพมหานคร ]

ยอดเข้าชม 133,563 ครั้ง

ระบบปอด การหายใจต้องยกให้สายพันธ์ไก่ชนญี่ปุ่น

ซุ้ม [กรุงเทพมหานคร ]

ยอดเข้าชม 96,992 ครั้ง

​ขายไก่ชนยังไงให้รวยเป็นล้าน ความฝันของคนเลี้ยงไก่ชน

ซุ้ม [กรุงเทพมหานคร ]

ยอดเข้าชม 92,999 ครั้ง

บรรยากาศการชนไก่ในต่างแดน ไก่ชนต่างประเทศ

ซุ้ม ลุงชาขายไก่ชน [กรุงเทพมหานคร ]

ยอดเข้าชม 51,894 ครั้ง

เปิด แข้งในตำนาน...ไก่แข้ง หายาก......

ซุ้ม เพรชพลายงาม. [ปิดการขาย]

ยอดเข้าชม 34,099 ครั้ง

แบ่งไก่ชนสายเลือดไทยง่อน

ซุ้ม ซุ้มก.กล้าจรัสแสง [ปิดการขาย]

ยอดเข้าชม 18,904 ครั้ง

เรื่องที่คุณอาจสนใจ

รับข่าวสารเพิ่มเติม